วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

BM623 กระดาษเข้าห้องสอบ

ของ อ.พิบูล ส่วนที่ 1 การให้ความหมาย+ตัวอย่าง
เศรษฐกิจฟองสบู่ (Buble Economy) เป็นสภาพที่ระบบเศรษฐกิจเติบโตที่ลวงตา เพราะเป็นการเติบโตแต่เฉพาะมูลค่า อันเนื่องมาจากระดับราคาในระบบสูงขึ้น หรือเป็นธุรกรรมที่มีการแลกเปลี่ยนที่เป็นตัวเงินเท่านั้น เป็นการซื้อขายกระดาษ เช่น หุ้น โฉนดที่ดิน เป็นเพียงธุรกรรมโอนกรรมสิทธิ์เปลี่ยนมือเท่านั้น  ไม่ใช่การลงทุนที่แท้จริง เพราะไม่ก่อให้เกิดการเพิ่มผลผลิตและการจ้างงาน ผลผลิตไม่ก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ต่อการบริโภค รายได้ถือเป็น Norminal GDPเช่น ราคาบ้านสูงขึ้นผิดปกติราคาที่สูงขึ้นไม่ได้เกิดจากคนอยากมีบ้านเยอะ แต่เกิดจากการเก็งกำไร
เศรษฐกิจที่แท้จริง (Real Economy) เป็นธุกรรมที่มีการซื้อขายผลผลิตจริง เช่น หมูไปไก่มา  เป็นการซื้อขายที่ทำให้เกิดการผลิตอย่างต่อเนื่อง ถือเป็นการลงทุที่แท้จริงก่อให้เกิดผลผลิต จึงมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ต่อการบริโภคโดยตรง รายได้ถือเป็น Real GDP
กับดักสภาพคล่อง (liquidity Trap)  เป็นช่วงที่ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไรเพิ่มสูงขึ้น เพราะต้นทุนค่าเสียโอกาสถือเงินต่ำ  จึงทำให้คนส่วนใหญ่ถือเงินเพื่อการเก็งกำไร ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยลดต่ำลงและยิ่งอัตราดอกเบี้ยลดต่ำลงมากๆ จึงมีการถือเงินเพื่อการเก็งกำไรอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ในช่วงนี้นโยบายการเงินใช้ไม่ได้ผล เพราะการเพิ่มปริมาณเงิน จะไม่ส่งผลให้เกิดการลงทุน เพราะเงินที่เพิ่มใน ศก. ประชาชนก็จะเอาไปถือเพื่อเก็งกำไร เช่น ในปี 2552 ที่สถานการณ์ดอกเบี้ยต่ำ เกิด Global liquidity trap เพราะ USA. อัดเงินเข้า ศก.มากมาย ดอกเบี้ยต่ำสุดๆ สถาบันการเงินไม่กล้าปล่อยสินเชื่อ เพราะสภาพคล่องล้นระบบ ดังนั้นสภาพคล่องจึงไม่สามารถผันไปสู่การลงทุน สร้างงาน สร้างรายได้ การลงทุนจึงไม่เกิดขึ้น
นักลงทุนที่เกลียดความเสี่ยง (Risk Averse)มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงความเสี่ยง แต่จะยินดีแบกรับความเสี่ยง หากรายได้ในการแบกรับความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น  แสดงว่าการเข้ารับความเสี่ยงดังกล่าวจะทำให้มีรายได้มากกว่าต้นทุนทีใช้ในการปกป้องความเสี่ยงจึงทำให้นักธุรกิจมีกำไร
นักลงทุนรักที่จะเสี่ยง (Risk Lover)เป็นนักลงทุนประเภทไร้เหตุผล มักลงทุนในสิ่งที่มีโอกาสให้ผลตอบแทนมาสูงๆ โดยมิไดคำนึงถึงความเสี่ยงของการลงทุน หรือโอกาสความน่าเป็นในการไดรับผลตอบแทนดังกล่าว
ตลาดแรก (Primary Market) การออกหลักทรัพย์ใหม่ถือเป็นการลงทุน การซื้อขายเป็นการระดมทุนที่มีผลต่อการเพิ่มผลผลิต การสร้างานและรายได้ที่แท้จริงเพิ่มขึ้น การซื้อขายในตลาดนี้ถือเป็นส่วนสำคัญ เพราะมีการเติบโตทาง ศก.ที่แท้จริง องค์ประกอบ Initiate Public offering (IPO) มากกว่าการเสนอหุ้นสามัยออกใหม่ PO: Public offer,PP: Private Placement เสนอขายให้นักลงทุน และขาย Warrant การให้สิทธิหุ้นสามัญออกใหม่ในราคา PAR โดยให้สิทธิผู้ถือรายเดิม * กรฯมีการแปลงหนี้ ทำให้หุ้นสามัญออกใหม่เพิ่ม เปลี่ยนจากเจ้าหนี้เป็นเจ้าของ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ ทำให้ทุนเพิ่ม หนี้ลดลง
ตลาดรอง (Secondary Market)การซื้อขายในตลาดนี้ไม่ถือเป็นการลงทุน เพราะการซื้อขายเป็นเพียงการโอนกรรมสิทธิ์เปลี่ยนถือความเป็นเจ้าของหุ้น การซื้อขายจึงไม่มีผลต่อการเพิ่มผลผลิต ไม่มีผลต่อการจ้างงาน แต่การซื้อขายที่เพิ่มขึ้นทำให้ราคาและมูลค่าของหลักทรัพย์เพิ่มขึ้น การซื้อขายหุ้นในตลาดรองมีวัตถุประสงค์ให้ประชาชน นักธุรกิจใช้สำหรับการปรับสภาพทางการเงิน ศก.ฟองสบู่ แต่หากการซื้อขายเพื่อเก็งกำไร ในราคาหุ้นที่หวัง Capital Gain จะมีผลทำให้ราคาหุ้นเพิ่มสูงขึ้นมาก และยิ่งถ้าทำธุรกรรมนี้เพื่อเก็งกำไรมีปริมาณมากขึ้น ยิ่งทำให้ภาวะความเป็นฟองสบู่เพิ่มขึ้น
Carry Trade เป็นกลยุทธ์การเก็งกำไรจากตลาดเงิน โดยกู้เงินจากสกุลที่ r ต่ำนำไปหาผลตอบแทนสกุลเงินที่ r สูงแต่อาจจะมี Risk of e แต่กรณีที่บาทแข็งค่าก็เป็นความเสี่ยงได้ มิใช่เสี่ยงเสีย รายได้ที่มากขึ้นอยู่กับ ส่วนต่างของ r ของเงิน 2 สกุลมีมากขึ้นอยู่กับปริมาณของธุรกรรม
R นโยบายคือดอกเบี้ยนโยบาย คือ อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้ในการดำเนินนโยบายการเงินภายใต้กรอบ เป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ โดยจะใช้อัตราดอกเบี้ยดังกล่าวในการเป็นเครื่องมือหลักในการส่งสัญญาณนโยบาย การเงิน โดยปัจจุบันใช้อัตราดอกเบี้ย RP 1 วัน คือ อัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตรอายุ 1 วันโดยที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.)แถลงผลการประชุมในวันที่9มี.ค.54 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ขึ้นr นโยบายร้อยละ 0.25 จากร้อยละ2.25 เป็นร้อยละ 2.50 ต่อปี
Benchmarking คือวิธีการในการวัดและเปรียบเทียบ ผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการปฏิบัติกับองค์กรที่ทำได้ดีกว่า เพื่อนำผลของการเปรียบเทียบมาใช้ในการปรับปรุงองค์กร เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศในธุรกิจ
การปริวรรตเงินตราระหว่างปท.(Foreign Exchange) คือการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างปท. การค้าขายและการลงทุนมีการทำธุรกรรมระหว่างปท.มาก จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับเงินตราของปท.ต่างๆหลายสกุล การตกลงซื้อขายสินค้าระหว่างปท.นั้น จำเป็นต้องมีการกำหนดว่าเงินสกุลใดจะเป็นเงินสกุลเงินหลักเพื่อใช้ในการชำระราคาสินค้าระหว่างกัน
ค่าของเงิน(Money Value) 2 ความหมายคือ ค่าเงินภายใน: อำนาจซื้อของเงินบาทภายในระบบศก.ไทย  ซึ่งสัมพันธ์กับดัชนีราคาและภาวะเงินเฟ้อ ค่าเงินภายนอก: e ระหว่างเงินบาทกับเงินตราต่างประเทศ
  ในส่วนของการวิเคราะห์การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
มีวัตถุประสงค์เพื่อการบริหารจัดการให้มีต้นทุนในการใช้เงินต่ำสุด
การจัดการทางด้านการเงินเราจะเน้นที่ Real Business เพราะมีคำอธิบายที่มีเหตุผล และเป็นธุรกรรมที่เป็น win-win ภายใต้ Bargaining Power อำนาจการต่อรอง ส่วน Glambing Approach เป็นการพักเก็งกำไร เป้าหมายซื้อถูก ขายแพง เทขายแพงกลับมาซื้อถูก เป็น Zero Sum Game
หน้าที่ผู้จัดการการเงิน : ต้องตอบสนองเป้าหมายขององค์กรธุรกิจ และหน้าที่ฝ่ายการเงินคือหาแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำที่สุดเพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายกำไรสูงสุด/ความสามารถในการบริหารCash Flow-ของเงินแต่ละสกุล ทำการMatchingรายรับ-จ่ายเพื่อลดต้นทุนการconverseเงิน และเตรียมวางแผนในการใช้เงินสกุลต่างๆ เป้าหมายการจัดการทางการเงิน 1.Profit Maximization กำไรสูสุด 2.Business Growth ธุรกิจจะโตเท่าไหร่อยู่ที่ Bench MarkingและBench Markingดูจาก GDP 3.Expand Mkt share ต้องมี Competitiveness 4.Price Leadership(Giant Company)ยากสุด บริษัทยักษ์ใหญ่ 5.Social responsibility การบริจาค
ทฤษฎีการกำหนดขึ้นเป็น e Exporter-กลัวค่าเงินบาทแข็ง ,Importer-กลัวค่าเงินบาทอ่อน (นักธุรกิจต้องพยากรณ์ทิศทาง/เชิงปริมาณ)เพื่อหาทางหนีที่ไล่ในการป้องกันความสูญเสีย e ถูกกำหนดขึ้นมาภายใต้ระบบ Floated ไม่มีใครกำหนด กำหนดโดยตลาดเงินหมายถึงผู้ที่ใช้เงินตรา ตปท. Demand and Supply for foreign currencyอัตราดอกเบี้ย (r) คือ ค่าเช่าของเงิน เป็นต้นทุนของการใช้เงินทุนของธุรกิจ เป็นกลไกเชื่อมโยงระหว่างตลาดผลผลิตและตลาดการเงินการกำหนดขึ้นเป็น r จะเกี่ยวข้องกับ Investment / Saving/Borrower/lender /r จะถูกกำหนดจาก ผู้ที่ต้องการใช้เงินทุน และผู้ออมเงิน หรือ r ถูกกำหนดจาก I = S แต่เนื่องจาก I กับ S ไม่สามารถพบกันได้โดยตรง แต่จะสามารถพบกันที่ตลาดการเงินที่จะเกี่ยวข้องกับ MD= MS ผู้ขอกู้ : Borrower เสนอขอบริโภคปัจจุบันด้วยรายได้ในอนาคต ซึ่งทำให้ Borrower ได้รับอรรถประโยชน์ในการบริโภคปัจจุบัน จึงยินดีจ่ายค่าตอบแทนของการได้รับอรรถประโยชน์เป็นดอกเบี้ย r ผู้ให้กู้ : Lender จะยินดีเสียสละการบริโภคปัจจุบัน แต่คาดหวังการบริโภคอนาคตที่เพิ่มสูงขึ้น โดยขอรับดอกเบี้ย r เป็นค่าตอบแทนจากการเสียสละการบริโภคปัจจุบัน
มูลค่าอนาคต = มูลค่าปัจจุบัน + r
•Borrower ยินดีจ่าย r ในขณะที่ Lender ขอรับค่าตอบแทนเป็น r•r จึงถูกกำหนดจากดุลยภาพระหว่าง Borrower & Lender•สรุป r ถูกกำหนดจากตลาดสินค้า I = S และตลาดเงิน MD= MS ร่วมกัน


ทฤษฎีการลงทุนของ Real Sactor I ขึ้นอยู่กับ r = r เพิ่ม I ลด r ลด I เพิ่ม หากนำทฤษฎีมาวิเคราะห์การซื้อขายหลักทรัพย์หรือหุ้น เราตัดสินใจจาก 2 ปัจจัยหลัก คือ P หุ้นและผลตอบแทนของหุ้นในอนาคต ซึ่งอยู่คนละมิติเวลา เราต้องทอนให้อยู่ในมิติเดียวกัน หาก PV มากกว่า P หุ้น โอกาสกำไรควรลงทุนแต่หาก น้อยกว่าโอกาสขาดทุนไม่ซื้อ PV จะสูงหรือต่ำ ขึ้นอยู่กับ รายได้ของหุ้นในอนาคต และ r อนาคต ทฤษฎีความสัมพันธ์ของ r กับ P หุ้นถ้า r ลด P หุ้นเพิ่ม ถ้า r เพิ่ม  Pหุ้นลด ควรใช้ศิลปะและจังหวะเวลาในการเข้าซื้อหุ้น
ความสำคัญในฐานะที่เราเป็นนักธุรกิจ สามารถเล็งเห็น การจัดการด้านการเงิน ที่สร้างประโยชน์กับธุรกิจมี 5 ประเด็น 1.เงินทำหน้าที่เป็นสื่อกลางของการแลกเปลี่ยน มีความสำคัญและมีบทบาทมากขึ้นเพราะมีการขยายตัวมากขึ้น ธุรกิจก็เช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น การค้าของเราในอดีตเคยมียอดขาย 20 ล้านต่อเดือน เราใช้วงเงินสินเชื่อ O/D 2 ล้านบาทถ้าหากปัจจุบันยอดขายได้เพิ่มขึ้น 200 ล้านบาทต่อเดือน แต่เราสามารถบริหารจัดการสภาพคล่องได้ดีขึ้นโดยใช้วงเงินสินเชื่อเพียง 8 ล้านบาทจะเห็นไดว่าต้นทุนของสินเชื่อลดลง ทั้งที่ยอดขายเพิ่มขึ้น ถ้าเป็นกิจการใหญ่ที่มีสภาพคล่องดีก็จะดี  2.เศรษฐกิจไทยเป็นระบบเปิด (Open Economy)มีการเปิดเสรีทางการค้าในเวที่ต่างๆ เช่น WTO ,APEC,ASIAN เป็นต้น ธุรกิจก็เช่นเดียวกัน เรามีโอกาสได้ลูกค้าในหลายภูมิภาคมากขึ้น เราจึงต้องบริหารเงินหลากหลายสกุลและต้องมีการวางแผนทางการเงินโดยเฉพาะการ Matching รายรับ- รายจ่ายของสกุลเงินต่างๆที่พยายามให้สอดคล้องกันในเรื่องของจำนวนและเวลาเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงของ e และต้นทุนในการแลกเปลี่ยน 3.ธุรกิจสามารถใช้การบริหาหารเงิน เป็นเครื่องมือบรรลุเป้าหมายทาง ศก.คือการจัดการด้านการเงินทำให้ต้นทุนของธุรกิจต่ำลง ทำให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะต้นทุนรวมที่ต่ำลงทำให้เกิดกำไรสูงสุด และต่อมาก็สามารถบรรลุ business growth ได้ดีขึ้น ต่อมาเป็น Expend Market Share เป็น Social Company และ Social Reponsibility ในที่สุด4.การบริหารการเงินที่มีประสิทธิภาพ จะช่วยลดอุปสรรคในการใช้กลยุทธ์ทางการตลาดอาทิเช่น บริษัท A,B มีความเท่าเทียมกันในศักยภาพการผลิต แต่ A เหนือกว่า B ในการบริหารด้านการเงิน ดั้งนั้นทำให้ต้นทุนรวมของ A ต่ำกว่า B จึงมีโอกาสใช้กลยุทธ์การทำสงครามราคา คือขายสินค้าได้ในราคาที่ต่ำแต่ไม่ขาดทุน และ WTO ก็สนับสนุนA ประสบความสำเร็จในการบริหารด้านการเงิน โอกาสเข้าไปสู่ส่วนครองตลาด และหากสินค้า A ต่ำลงอาจจะหวังส่วนครองตลาดที่ B ครองอยู่ก็ย่อมได้ อีกวิธีการหนึ่งคือการทุ่มตลาด Dumping เป็นการทำเพื่อลุคู่แข่งออกจากตลาด WTO ไม่เห็นด้วยและห้ามทำ หากมีการทำสามารถรวบรวมหลักฐานและร้องเรียนได้5.ธุรกิจปัจจุบันอยู่ในระบบโลกไร้พรมแดน มีการแข่งขันอย่างรุนแรง ธุรกิจที่จะอยู่รอดได้  ต้องเป็นธุรกิจที่มีประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนให้ต่ำกว่าคู่แข่ง ปัจจัยสำคัญของการอยู่รอดอยู่ที่การลงทุน ความจำเป็นในการระดมทุน ระดมทุนอย่างไรให้เกิดการใช้ต้นทุนที่ต่ำและมีเงินลงทุนจำนวนมหาศาลคือต้องไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของหลักประกัน ส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนจากมหาชน ค่าใช้จ่ายมักจะต่ำ
R สูงต่ำดูที่ไหน ตัวไหนส่งสัญญาณของไทย,ของเมกา R ดุลยภาพในตลาดการเงินมีเพียงอัตราเดียวแต่ที่เราพบเห็นในตลาดการเงินว่าทำไมมีหลายอัตรานั้น ทำให้เกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของ r ดั้งนั้น r จะสูงหรือต่ำดูได้จาก level of r  ในระบบศก.หรือในตลาดการเงินจะมีเพียงอัตราเดียว r ที่ส่งสัญญาณ level of r คือ r ดุลยภาพในระบบศก.หรือตลาดเงิน คุณสมบัติคือต้องเป็น r ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพคล่องในตลาดการเงินได้ทันทีทันใด ตรงตามสภาพข้อเท็จจริง กรณีไทยดูที่ Inter Bank Rate: อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงระยะสั้นตลาดกรุงเทพ (BIBOR) 1วันเพราะเป็น r ที่เกิดจาการเจราจาต่อรองของ borrower และ lender รายใหญ่ที่มีอำนาจต่อรอง r ที่ปรากฏจึงสะท้อนข้อเท็จจริงของสภาพคล่องและเปลี่ยนทันทีทันใด แม้ชั่วข้ามคืนก็เปลี่ยนแปลงได้ Overnight Rate (O/R)กรณี USA ดูได้จาก discount rate of 3 months Treasury Bill Rate เนื่องจากเป็นตลาดเงินระยะสั้นที่ใช้มากที่สุดในการปรับสภาพคล่องทางการเงิน กรณียุโรป ดูที่ LIBOR:London Inter Bank Offer Rate เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัวที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้เป็น r ลอยตัวอ้งอิง LIBOR จึงถือเป็น r ดุลยภาพของโลก
R มีความสำคัญอย่างไรต่อธุรกิจและหากเจอ r ลอยตัวจะพิจารณาทางหนีที่ไล่อย่างไร1.R อยู่ในฐานะเป็นต้นทุนในการใช้เงินทุนของธุรกิจ(อนาคต)เพราะธุรกิจต้องใช้ทั้งเงินทุนระยะสั้นและระยะยาว 2.r เป็นตัวแปรสำคัญต่อการตัดสินใจลงทุนในปัจจุบัน เช่นวันนี้เราจะตัดสินใจลงทุนโครงการ 1,800 ล้านเราจะตัดสินใจอย่างไร ตัวแปรสำคัญ คือ r ในอนาคตเพราะฝ่ายขาย+การตลาดต้องประเมินรายได้ในอนาคตของโครงการ ฝ่ายผลิตต้องประเมินต้นทุน variable cost ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รายรับ+รายจ่ายในอนาคต ต้องทอนเป็นเงินมูลค่าปัจจุบันมากกว่าเงินลงทุนมีกำไร3.r มีความสัมพันธ์กับราคาหุ้น บมจ.หารายได้จาก Capital Gain หลีกเลี่ยงการสูญเสีย Capital loss โดยเฉพาะหุ้นที่อ่อนไหวต่อ r 4.r มีส่วนช่วยในการบริหาร Portfolio เพื่อความมั่นคงในการกระจายการถือสินทรัพย์การเงิน การลดความเสี่ยงเพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน เพิ่มส็นภาพคล่องของธุรกิจ ลดต้นทุนการขาดสภาพคล่อง เกิดภาวะการกระจายสินทรัพย์ทางการเงิน ธุรกิจมีรายได้ เราสามารถพิจราณาทางหนีทีไล่ได้จากเครื่องมือในการปกป้องความเสี่ยงของ r เพราะ r ถือเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการบริหารธุรกิจInterest Rate Options คือ สิทธิ ทางเลือก ของบริการ r สำหรับเงินต้นจำนวนหนึ่ง ในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่ ธ.พาณิชย์ เสนอให้ลูกค้าที่มีภาระจ่าย r ลอยตัว สำหรับการปกป้องความเสี่ยงของ r และเกรงว่า r ลอยตัวอนาคตจะเปลี่ยนแปลงเกินขอบเขต ประกอบด้วย Cap คือ บริการเพดาน rผู้ใช้บริการจะเป็นลูกค้าประเภทสินเชื่อที่มีภาระต้องจ่าย r แบบลอยตัว และเกรงว่า r ลอยตัวในสัญญาสินเชื่ออาจสูงเกินขอบเขตในอนาคต Cap : ผู้ซื้อจะจ่าย r ไม่มากไปกว่า Cap แต่หาก r ลอยตัว > Cap ธ. จะจ่ายส่วนเกินแทน ประโยชน์ของ Cap คือ ป้องกันมิให้ต้นทุนของการใช้สินเชื่อนั้น สูงเกินขอบเขต นั่นคือ การจำกัดค่าใช้จ่ายของ r Floor คือ บริการ r ขั้นต่ำผู้ซื้อบริการจะเป็นลูกค้าประเภทเงินฝากที่รับรายได้เป็น r ลอยตัว และเกรงว่า r ลอยตัวที่ระบุในสัญญาเงินฝากอาจจะลดต่ำลงมากในอนาคต Floor : ผู้ซื้อจะรับ r ไม่น้อยไปกว่า Floor แต่หาก r ลอยตัวในสัญญา < Floor ธ. จะจ่ายชดเชยให้ผู้ซื้อได้รับ = Floor ประโยชน์ของ Floor คือ การประกันรายได้ขั้นต่ำของเงินฝาก r ลอยตัวที่ใช้อ้าอิงใน Cap/Floor จะต้องมีมาตรฐานและแสดงถึงสภาพคล่องที่แท้จริงของตลาดเงินสกุลนั้นๆCap ของ US$ จะเป็น LIBOR , SIBORFloor ของ US$ จะเป็น LIBID , SIBIDCap ของ ฿ จะเป็น r of CITI Note/Chase N
Collar / Minimax เป็นบริการ r Protection Risk สำหรับลูกค้าสินเชื่อเป็นการประกบคู่ของ Cap & Floor เข้าด้วยกัน โดยตกลงว่า r Floating > Ceiling ธ. จะจ่ายส่วนเกิน Ceiling แทนลูกค้า /r Floating < Floor  ผู้ซื้อบริการจะต้องจ่ายส่วนต่างของ Floor -r Floating ให้กับ ธ. ผู้ขายบริการหาก r Floating อยู่ระหว่าง Ceiling-Floor จะไม่มีใครได้/เสีย
เพื่อให้ได้มาซึ่ง สิทธิ ของ IR Options ผู้ซื้อต้องชำระค่าธรรมเนียมทันที จุดเด่นของ IR Options
เป็นสิทธิทางเลือกของผู้ซื้อ ไม่ใช่ข้อผูกมัดให้ความยืดหยุ่นกับผู้ซื้อสูง
ผู้ขายรับเพียงความเสี่ยงของ r แปรปรวนอย่างเดียวลดภาระ r ซึ่งช่วยลูกค้าที่ฐานะการเงินไม่ดีมีภาระ r สูง
 สามารถควบคุมรายจ่ายของ r แต่ธรรมเนียมสูง Forward Rate Agreement : FRA เป็นสัญญาผูกมัดของ r ตายตัวของปริมาณเงินต้นจำนวนหนึ่ง ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แม้ว่า r ลอยตัวตามสัญญาเงินกู้/เงินฝากในอนาคตจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใดก็ตาม
ผู้ซื้อบริการ FRA จะมีหลักประกันของภาระ r = FRA ที่ตายตัวตลอดช่วงอายุสัญญา
FRA แต่มิได้ให้ทางเลือกผู้ซื้อ
ผู้ซื้อ FRA จะต้องได้/เสียทางใดทางหนึ่งอย่างแน่นอน ผู้ซื้อ FRA กรณีลูกค้าสินเชื่อลูกค้าสินเชื่อต้องการ r อนาคตที่จะไม่ให้สูง และเพื่อจำกัดความเสี่ยง r ลอยตัวให้อยู่ในขอบเขตที่จะไม่สูงเกิน FRA ลูกค้าสินเชื่อจึงซื้อบริการ FRA จาก ธ.
และถ้า r Floating > FRA ธ.จะเป็นผู้จ่ายส่วนเกินจาก FRA แทนผู้ซื้อ
และถ้า r Floating < FRA ผู้ซื้อได้จ่ายชดเชยส่วนต่างให้กับ ธ.ผู้ขายบริกผู้ซื้อ FRA กรณีลูกค้าเงินฝากลูกค้าเงินฝากประสงค์ต้องการ r อนาคตที่จะไม่ให้ต่ำ เพื่อรายได้จากการฝากเงินที่สูง และเพื่อจำกัดความเสี่ยง r ลอยตัวให้อยู่ในขอบเขตที่จะไม่ต่ำไปกว่า FRA จึงซื้อบริการ FRA จาก ธ.
และถ้า r Floating < FRA ธ.จะเป็นผู้จ่ายชดเชยให้ผู้ซื้อได้รับ = FRA
และถ้า r Floating > FRA ผู้ซื้อจะต้องจ่ายที่ FRA หรือ ธ.ผู้ขายได้รับส่วนที่เกินจาก FRAประโยชน์ของ FRA ปกป้องความเสี่ยง r ในอนาคต เพิ่มเติมตามการคาดการณ์แนวโน้มของ r / เป็นสัญญาที่ยืดหยุ่นปรับได้ตามความต้องการของลูกค้า
 / ไม่ต้องวาง Margin/หลักทรัพย์ค้ำประกัน
/ปริมาณธุรกรรมจะผันแปรไปตามความผันผวนของ r ข้อเสีย FRA ไม่ใช่สิทธิในทางเลือกแต่จ่ายค่าธรรมเนียมต่ำกว่า /ก่อให้เกิด Market Risk & Credit Risk หาก แนวโน้มของ r ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์
nธ. ผู้ขายบริการที่เป็นคู่สัญญาอาจจะเกิดผลกระทบ หากคู่สัญญา FRA ไม่ปฏิบัติตามสัญญาInterest Rate Swaps : IR Swapsเป็นข้อตกลงคู่สัญญา 2 ฝ่าย ที่จะนำภาระ r ของการกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนต่างกันมาแลกเปลี่ยนกันในระยะเวลาหนึ่งตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน/
ขอบเขตของสัญญาจะครอบคลุมเพียงจำนวน r ที่จะแลกกันเท่านั้น ส่วนเงินต้นเป็นเพียงฐานใช้ในการคำนวณภาระ r ที่จะแลกกันเท่านั้น / IR Swaps โดยทั่วไปจะมีฝ่ายที่ 3 คือ สถาบันการเงินทำหน้าที่เป็นคนกลางในการเป็นคู่ Swap และสถาบันการเงินก็จะเก็บคู่ Swap ไว้หาคู่ที่เหมาะสมต่อไป IR Swaps จำแนกเป็น 2 ประเภท 1. Coupon Swap เป็นการ Swap ระหว่าง r Fixed กับ r Floating นิยมใช้มากสุด ส่วนใหญ่อยู่ในรูปเงิน US
 2. Basis Swap เป็นการ Swap ระหว่าง r Floating ด้วยกัน แต่ r ที่ Swap จะมีความแตกต่างของช่วงเวลาความถี่ในการจ่าย r หรือแหล่งเงินทุนของ r อ้างอิงEx.  Coupon Swapบริษัท A กู้ r Fixed ได้ 12% แต่กู้ r Floating ได้ LIBOR+1/4% บริษัท B กู้ r Fixed ได้ 10% แต่กู้ r Floating  ได้ LIBOR+3/4%
บริษัท A ควรกู้ r Floating เพราะมี Advantage ในตลาดนี้ บริษัท B ควรกู้ r Fixed เพราะมี Advantage ในตลาดนี้
แต่บริษัท A ต้องการกู้แบบ r Fixed
และบริษัท B ต้องการกู้แบบ r Floatingจะเห็นว่า 2 ฝ่ายเกิดความต้องการที่จะ Matching กันในการใช้ Comparative Advantage ด้วยการทำ IR Swap และบรรลุถึงความต้องการได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น